โอ
หน้าตา
ดูเพิ่ม: โอ้
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | โอ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | oo |
ราชบัณฑิตยสภา | o | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔoː˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]เป็นไปได้ว่ามาจากการอธิบายขนาดของผลส้ม
คำนาม
[แก้ไข]โอ
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]โอ
- (ปลา~) ชื่อปลาทะเลขนาดใหญ่หลายชนิดในวงศ์ Thunnidae อยู่เป็นฝูง ห่างฝั่ง รูปร่างเพรียวคล้ายกระสวย บริเวณฐานครีบหูมีกลุ่มเกล็ดเล็ก ๆ ครีบหางเว้าลึก เช่น โอหม้อ หรือ โอดำ (Thunnus tonggol) โอลาย (Euthynnus affinis)
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 甌 (MC 'uw); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩋᩰ (โอ) หรือ ᩒ (โอ), ภาษาลาว ໂອ (โอ); เทียบภาษามอญ အော (โอ)
คำนาม
[แก้ไข]โอ
- ภาชนะเครื่องเขินอย่างหนึ่งสำหรับใส่ของ รูปคล้ายขัน มีขนาดต่าง ๆ, ต่อมาได้อนุโลมเรียกขันเคลือบทรงสูงว่า ขันโอ
- ถ้วยโถโอชาม
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]เลียนเสียงธรรมชาติ
คำอุทาน
[แก้ไข]โอ
รากศัพท์ 5
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาอังกฤษ o (“ชื่อเรียกอักษร O”)
คำนาม
[แก้ไข]โอ
- ชื่อตัวอักษรในอักษรละติน O/o
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- (ชื่อตัวอักษรในอักษรละติน) ตัวอักษร; เอ, บี, ซี, ดี, อี, เอฟ, จี, เอช / เฮช, ไอ, เจ, เค, แอล, เอ็ม, เอ็น, โอ, พี, คิว, อาร์, เอส, ที, ยู, วี, ดับเบิลยู / ดับบลิว, เอกซ์ / เอ็กซ์, วาย, แซด / ซี
รากศัพท์ 6
[แก้ไข]ตัดทอนจาก โอเค, จากภาษาอังกฤษ OK (“ตกลง”) ย่อมาจาก all correct (“ครบถ้วนถูกต้อง”)
คำกริยา
[แก้ไข]โอ
คำอุทาน
[แก้ไข]โอ
- เห็นด้วย, ตกลง
ภาษากฺ๋อง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ʔo/
คำนาม
[แก้ไข]โอ
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/oː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- Pages with language headings in the wrong order
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่เลียนเสียงธรรมชาติ
- คำอุทานภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาอังกฤษ
- th:ชื่อตัวอักษรละติน
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ/m
- คำกริยาภาษาไทย
- th:ผลไม้
- th:ปลา
- ศัพท์ภาษากฺ๋องที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษากฺ๋อง
- คำนามภาษากฺ๋อง