ข้ามไปเนื้อหา

กลุ่มภาษาเคลต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กลุ่มภาษาเคลต์
ภูมิภาค:เคยกระจายทั่วยุโรปและอานาโตเลียตอนปลาย ปัจจุบันเหลือเพียงในคอร์นวอลล์, เวลส์, สกอตแลนด์, ไอร์แลนด์, เบรอตาญ, ไอล์ออฟแมน, รัฐชูบุต (Y Wladfa) และโนวาสโคเชีย
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
อินโด-ยูโรเปียน
ภาษาดั้งเดิม:เคลต์ดั้งเดิม
กลุ่มย่อย:
ISO 639-2 / 5:cel
เครือข่ายการวิจัยลิงกัวสเฟียร์:50= (phylozone)
กลอตโตลอก:celt1248[1]
{{{mapalt}}}
ขอบเขตของผู้พูดภาษาเคลต์:
  พื้นที่วัฒนธรรมฮัลชตัท, ศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.
  การขยายตัวสูงสุด, ประมาณ 275 ปีก่อน ค.ศ.
  พื้นที่ลูซิตาเนีย; ความเกี่ยวโยงกับเคลต์ยังไม่เป็นที่กระจ่าง
  บริเวณที่เคยมีผู้พูดภาษากลุ่มเคลต์ในสมัยกลาง
  บริเวณที่มีผู้พูดภาษากลุ่มเคลต์ในปัจจุบัน

กลุ่มภาษาเคลต์ เป็นกลุ่มภาษาที่สืบมาจากภาษาเคลต์ดั้งเดิม ซึ่งเป็นสาขาของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน[2] คำว่า "เคลต์" เป็นคำที่ประดิษฐ์โดย Edward Lhuyd เมื่อ ค.ศ. 1707[3] โดยประดิษฐ์ขึ้นหลังจาก Paul-Yves Pezron เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชนเคลต์ที่นักเขียนสมัยคลาสสิกบันทึกไว้ กับกลุ่มภาษาเวลส์กับเบรอตาญ[4]

ในช่วงสหัสวรรษที่ 1 ก่อน ค.ศ. มีผู้พูดภาษาเคลต์ทั่วยุโรปและอานาโตเลียตอนกลาง ปัจจุบันจำกัดเพียงชายขอบยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือและในชุมชนพลัดถิ่นส่วนหนึ่ง มีภาษาที่ยังคงมีผู้พูด 6 ภาษา โดย 4 ภาษาที่มีผู้พูดอย่างต่อเนื่องได้แก่ภาษาเบรอตาญ, ภาษาไอริช, ภาษาเกลิกสกอต และภาษาเวลส์ กับ 2 ภาษาฟื้นฟูคือภาษาคอร์นวอลล์และภาษาแมน ภาษาเวลส์เป็นภาษาราชการในประเทศเวลส์ และภาษาไอริชเป็นภาษาราชการในประเทศไอร์แลนด์กับสหภาพยุโรป ภาษาเวลส์เป็นภาษาเคลต์เดียวที่ยูเนสโกไม่จัดให้อยู่ในสถานะใกล้สูญ ภาษาคอร์นวอลล์และแมนสูญแล้วในสมัยใหม่ โดยยังคงมีความพยายามฟื้นฟูภาษาเหล่านี้จนมีผู้พูดภาษาที่สองร้อยกว่าคน

ภาษาที่มีผู้พูด

[แก้]

เอทโนล็อกจัดกลุ่มภาษาเคลต์ที่มีผู้พูดอยู่ 6 ภาษา ในจำนวนนี้มี 4 ภาษาที่ยังคงมีผู้พูดภาษาแม่อยู่เป็นจำนวนมาก ได้แก่: กลุ่มภาษากอยเดลิก (ภาษาไอริชและภาษาเกลิกสกอต ทั้งสองภาษาสืบจากภาษาไอริชสมัยกลาง) และกลุ่มภาษาบริตัน (ภาษาเวลส์และภาษาเบรอตาญ สืบจากภาษาบริตันทั่วไป)[5] ส่วนอีกสองภาษา คือ ภาษาคอร์นวอลล์ (บริตัน) และภาษาแมน (กอยเดลิก) สูญหายไปในสมัยใหม่[6][7][8] โดยมีบันทึกผู้พูดภาษาแม่คนสุดท้ายใน ค.ศ. 1777 และ 1974 ตามลำดับ ขบวนการฟื้นฟูภาษาในคริสต์ทศวรรษ 2000 นำไปสู่การกลับมาของผู้พูดภาษาแม่ทั้งสองภาษา ภายหลังผู้ใหญ่และเด็กใช้งานภาษานี้[9][10] ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 มีผู้พูดภาษากลุ่มเคลต์เป็ยภาษาแม่เกือบ 1 ล้านคน[11] จากนั้นจึงเพิ่มขึ้นเป็น 1.4 ล้านคนใน ค.ศ. 2010[12]

ประชากรศาสตร์

[แก้]
ภาษา ชื่อในภาษาแม่ กลุ่ม จำนวนผู้พูดภาษาแม่ จำนวนผุ้พูดอย่างเชี่ยวชาญ พื้นที่ต้นตอ
(ยังคงมีผู้พูด)
ผู้วางระเบียบ จำนวนผู้พูดในเมืองใหญ่โดยประมาณ
ภาษาไอริช Gaeilge / Gaedhilge /

Gaedhlage Gaeildhilige Gaelainn / Gaeilig / Gaeilic

กอยเดลิก 40,000–80,000[13][14][15][16]
ในสาธารณรัฐไอร์แลนด์ มี 73,803 คนที่ใช้ภาษาไอริชในชีวิตประจำวัน[17]
ผู้พูดทั้งหมด: 1,887,437
สาธารณรัฐไอร์แลนด์: 1,774,437[18]
สหราชอาณาจักร: 95,000
สหรัฐ: 18,000
Gaeltacht แห่งไอร์แลนด์ Foras na Gaeilge ดับลิน: 184,140
กอลเวย์: 37,614
คอร์ก: 57,318[19]
เบลฟาสต์: 14,086[20]
ภาษาเวลส์ Cymraeg / Y Gymraeg บริตัน 562,000 (19.0% ของประชากรเวลส์) อ้างว่าตน "พูดภาษาเวลส์ได้" (2011)[21][22] ผู้พูดทั้งหมด: ≈ 947,700 (2011)
ประเทศเวลส์: 788,000 คน (26.7% ของประชากรทั้งหมด)[21][22]
ประเทศอังกฤษ: 150,000[23]
รัฐชูบุต ประเทศอาร์เจนตินา: 5,000[24]
สหรัฐ: 2,500[25]
ประเทศแคนาดา: 2,200[26]
ประเทศเวลส์ Welsh Language Commissioner
รัฐบาลเวลส์
(อดีตคือ Welsh Language Board, Bwrdd yr Iaith Gymraeg)
คาร์ดิฟฟ์: 54,504
สวอนซี: 45,085
นิวพอร์ต: 18,490[27]
แบงกอร์: 7,190
ภาษาเบรอตาญ Brezhoneg บริตัน 206,000 356,000[28] แคว้นเบรอตาญ Ofis Publik ar Brezhoneg แรน: 7,000
แบร็สต์: 40,000
น็องต์: 4,000[29]
ภาษาเกลิกสกอต Gàidhlig กอยเดลิก 57,375 (2011)[30] สกอตแลนด์: 87,056 (2011)[30]
รัฐโนวาสโกเชีย ประเทศแคนาดา: 1,275 (2011)[31]
ประเทศสกอตแลนด์ Bòrd na Gàidhlig กลาสโกว์: 5,726
เอดินบะระ: 3,220[32]
แอเบอร์ดีน: 1,397[33]
ภาษาคอร์นวอลล์ Kernowek / Kernewek บริตัน 563[34][35] 2,000[36] คอร์นวอลล์ Akademi Kernewek
Cornish Language Partnership (Keskowethyans an Taves Kernewek)
ทรัวโร: 118[37]
ภาษาแมน Gaelg / Gailck กอยเดลิก 100+,[9][38] รวมเด็กที่เป็นผู้พูดภาษาแม่ใหม่จำนวนหนึ่ง[39] 1,823[40] ไอล์ออฟแมน Coonceil ny Gaelgey ดักลาส: 507[41]

การจัดจำแนก

[แก้]

ภาษาเคลต์ดั้งเดิม แบ่งย่อยเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่

  • กลุ่มภาษากอลและกลุ่มที่ใกล้เคียงคือ เลปอนติก นอริก และกาลาเทีย ภาษาเหล่านี้ครั้งหนึ่งเคยใช้พูดกระจายเป็นบริเวณกว้างจากฝรั่งเศสถึงตุรกีและจากเบลเยียมถึงอิตาลีภาคเหนือ ส่วนใหญ่เป็นภาษาตาย
  • กลุ่มภาษาเคลติเบเรียน เคยใช้พูดในคาบสมุทรไอบีเรีย ซึ่งปัจจุบันได้แก่ โปรตุเกสเหนือ กาลิเซีย อัสตูเรียส กันตาเบรีย อารากอน และเลออนในสเปน ภาษาลูซิตาเนียอาจจะเคยเป็นภาษาในกลุ่มเคลต์นี้ ส่วนใหญ่เป็นภาษาตาย
  • กลุ่มภาษากอยเดิล รวมทั้งภาษาไอริช ภาษาสกอต แกลิก และภาษาแมน
  • กลุ่มภาษาบริตันหรือบริติช ได้แก่ ภาษาเวลส์ ภาษาเบรอตาญ ภาษาคอร์นวอลล์ ภาษาคัมบริด และอาจจะรวมภาษาปิกติช ซึ่งคาดว่าจะเป็นภาษาพี่น้องมากกว่าภาษาลูกหลาน

นักวิชาการบางคนจำแนกภาษากลุ่มเคลต์บนแผ่นดินและภาษาเคลต์ในหมู่เกาะโดยดูที่ความแตกต่างระหว่างกลุ่มภาษากอยเดิลกับกลุ่มภาษาบริตัน ซึ่งแสดงถึงการแยกตัวออกของภาษากลุ่มเคลต์บนแผ่นดินใหญ่

ภาษาเบรอตาญจัดเป็นภาษาในกลุ่มบริตันไม่ใช่ภาษากลุ่มกอลแม้ว่าอาจจะเพิ่มเข้ามาภายหลัง เมื่อชาวแองโกล-แซกซันเคลื่อนย้ายเข้าสู่เกาะอังกฤษ มีชาวบริตันหรือเวลส์ที่อาจจะมาจากภาษากลุ่มเจอร์แมนิกที่แปลว่าคนต่างชาติได้ข้ามช่องแคบอังกฤษเข้ามาอยู่ในเบรอตาญและได้นำภาษากลุ่มบริตันมาด้วย ภาษานี้ได้พัฒนามาเป็นภาษาเบรอตาญ ซึ่งยังเข้าใจกันกับภาษาเวลส์สมัยใหม่และภาษาคอร์นวอลล์

การออกเสียง

[แก้]

คำว่า Celtic ออกเสียงว่าเซลติกหรือเคลติกแต่นิยมใช้เคลติกมากกว่า ในเอกสารเก่าบางชิ้นสะกดว่า Keltic หรือ Celtic

อ้างอิง

[แก้]
  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Celtic". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.
  2. "The Celtic languages: An Overview", Donald MacAulay, The Celtic Languages, ed. Donald MacAulay, Cambridge University Press, 1992, 3.
  3. Cunliffe, Barry W. 2003. The Celts: a very short introduction. pg.48
  4. Alice Roberts, The Celts (Heron Books 2015)
  5. "Celtic Branch | About World Languages". aboutworldlanguages.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 September 2017. สืบค้นเมื่อ 2017-09-18.
  6. Koch, John T. (2006). Celtic Culture: A Historical Encyclopedia. ABC-CLIO. pp. 34, 365–366, 529, 973, 1053. ISBN 9781851094400. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 December 2015.
  7. "A brief history of the Cornish language". Maga Kernow. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2008.
  8. Beresford Ellis, Peter (2005) [1990]. The Story of the Cornish Language. Tor Mark Press. pp. 20–22. ISBN 0-85025-371-3.
  9. 9.0 9.1 "Fockle ny ghaa: schoolchildren take charge". Iomtoday.co.im. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2009. สืบค้นเมื่อ 18 August 2011.
  10. "'South West:TeachingEnglish:British Council:BBC". BBC/British Council website. BBC. 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 January 2010. สืบค้นเมื่อ 9 February 2010.
  11. "Celtic Languages". Ethnologue. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 July 2011. สืบค้นเมื่อ 9 March 2010.
  12. Crystal, David (2010). The Cambridge Encyclopedia of Language. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-73650-3.
  13. "Irish Examiner - 2004/11/24: EU grants Irish official language status". Irish Examiner. Archives.tcm.ie. 24 November 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 January 2005.
  14. Christina Bratt Paulston (24 March 1994). Linguistic Minorities in Multilingual Settings: Implications for Language Policies. J. Benjamins Pub. Co. p. 81. ISBN 1-55619-347-5.
  15. Pierce, David (2000). Irish Writing in the Twentieth Century. Cork University Press. p. 1140. ISBN 1-85918-208-9.
  16. Ó hÉallaithe, Donncha (1999), Cuisle
  17. "Just 6.3% of Gaeilgeoirí speak Irish on a weekly basis". TheJournal.ie. 23 November 2017. สืบค้นเมื่อ 14 April 2020.
  18. "cso.ie Central Statistics Office, Census 2011 – This is Ireland – see table 33a" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 May 2013. สืบค้นเมื่อ 27 April 2012.
  19. Central Statistics Office. "Population Aged 3 Years and Over by Province County or City, Sex, Ability to Speak Irish and Census Year". Government of Ireland. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 March 2016. สืบค้นเมื่อ 6 March 2016.
  20. Department of Finance and Personnel. "Census 2011 Key Statistics for Northern Ireland" (PDF). The Northern Ireland Statistics and Research Agency. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 24 December 2012. สืบค้นเมื่อ 6 March 2016.
  21. 21.0 21.1 "Welsh language skills by local authority, gender and detailed age groups, 2011 Census". StatsWales website. Welsh Government. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 November 2015. สืบค้นเมื่อ 13 November 2015.
  22. 22.0 22.1 Office for National Statistics 2011 2011-census-key-statistics-for-walesเก็บถาวร 5 มิถุนายน 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  23. United Nations High Commissioner for Refugees. "World Directory of Minorities and Indigenous Peoples – UK: Welsh". United Nations High Commission for Refugees. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 May 2011. สืบค้นเมื่อ 23 May 2010.
  24. "Wales and Argentina". Wales.com website. Welsh Government. 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 October 2012. สืบค้นเมื่อ 23 January 2012.
  25. "Table 1. Detailed Languages Spoken at Home and Ability to Speak English for the Population 5 Years and Over for the United States: 2006–2008 Release Date: April 2010" (xls). United States Census Bureau. 27 April 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 September 2014. สืบค้นเมื่อ 2 January 2011.
  26. "2006 Census of Canada: Topic based tabulations: Various Languages Spoken (147), Age Groups (17A) and Sex (3) for the Population of Canada, Provinces, Territories, Census Metropolitan Areas and Census Agglomerations, 2006 Census – 20% Sample Data". Statistics Canada. 7 December 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 August 2011. สืบค้นเมื่อ 3 January 2011.
  27. StatsWales. "Welsh language skills by local authority, gender and detailed age groups, 2011 Census". Welsh Government. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 December 2015. สืบค้นเมื่อ 6 March 2016.
  28. (ในภาษาฝรั่งเศส) Données clés sur breton, Ofis ar Brezhoneg เก็บถาวร 15 มีนาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  29. Pole Études et Développement Observatoire des Pratiques Linguistiques. "Situation de la Langue". Office Public de la Langue Bretonne. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2016. สืบค้นเมื่อ 6 March 2016.
  30. 30.0 30.1 2011 Scotland Census เก็บถาวร 4 มิถุนายน 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Table QS211SC.
  31. "National Household Survey Profile, Nova Scotia, 2011". Statistics Canada. 11 September 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2014.
  32. Scotland's Census. "Standard Outputs". National Records of Scotland. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 October 2016. สืบค้นเมื่อ 6 March 2016.
  33. Alison Campsie. "New bid to get us speaking in Gaelic". The Press and Journal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 March 2016. สืบค้นเมื่อ 6 March 2016.
  34. "Main language (detailed)". Office for National Statistics. สืบค้นเมื่อ 31 July 2023. (UK 2021 Census)
  35. See Number of Cornish speakers
  36. Around 2,000 fluent speakers. "'South West:TeachingEnglish:British Council:BBC". BBC/British Council website. BBC. 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 January 2010. สืบค้นเมื่อ 9 February 2010.
  37. Equalities and Wellbeing Division. "Language in England and Wales: 2011". Office for National Statistics. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 March 2016. สืบค้นเมื่อ 6 March 2016.
  38. "Anyone here speak Jersey?". The Independent. 11 April 2002. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 September 2011. สืบค้นเมื่อ 2011-08-19.
  39. "Documentation for ISO 639 identifier: glv". Sil.org. 14 January 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2011.
  40. "Isle of Man Census Report 2011" (PDF). Economic Affairs Division, Isle of Man Government Treasury. April 2012. p. 27. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 November 2013. สืบค้นเมื่อ 9 June 2014.
  41. Sarah Whitehead (2 April 2015). "How the Manx language came back from the dead". The Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2016. สืบค้นเมื่อ 6 March 2016.

ข้อมูล

[แก้]
  • Ball, Martin J. & James Fife (ed.) (1993). The Celtic Languages. London: Routledge. ISBN 0-415-01035-7.
  • Borsley, Robert D. & Ian Roberts (ed.) (1996). The Syntax of the Celtic Languages: A Comparative Perspective. Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0521481600.
  • Cowgill, Warren (1975). "The origins of the Insular Celtic conjunct and absolute verbal endings". ใน H. Rix (บ.ก.). Flexion und Wortbildung: Akten der V. Fachtagung der Indogermanischen Gesellschaft, Regensburg, 9.–14. September 1973. Wiesbaden: Reichert. pp. 40–70. ISBN 3-920153-40-5.
  • Celtic Linguistics, 1700–1850 (2000). London; New York: Routledge. 8 vols comprising 15 texts originally published between 1706 and 1844.
  • Forster, Peter; Toth, Alfred (July 2003). "Toward a phylogenetic chronology of ancient Gaulish, Celtic, and Indo-European". Proc. Natl. Acad. Sci. USA. 100 (15): 9079–84. Bibcode:2003PNAS..100.9079F. doi:10.1073/pnas.1331158100. PMC 166441. PMID 12837934.
  • Gray, Russell D.; Atkinson, Quintin D. (November 2003). "Language-tree divergence times support the Anatolian theory of Indo-European origin". Nature. 426 (6965): 435–39. Bibcode:2003Natur.426..435G. doi:10.1038/nature02029. PMID 14647380. S2CID 42340.
  • Hindley, Reg (1990). The Death of the Irish Language: A Qualified Obituary. Routledge. ISBN 0-415-04339-5.
  • Lewis, Henry & Holger Pedersen (1989). A Concise Comparative Celtic Grammar. Göttingen: Vandenhoeck & Ruprecht. ISBN 3-525-26102-0.
  • McCone, Kim (1991). "The PIE stops and syllabic nasals in Celtic". Studia Celtica Japonica. 4: 37–69.
  • McCone, Kim (1992). "Relative Chronologie: Keltisch". ใน R. Beekes; A. Lubotsky; J. Weitenberg (บ.ก.). Rekonstruktion und relative Chronologie: Akten Der VIII. Fachtagung Der Indogermanischen Gesellschaft, Leiden, 31 August – 4 September 1987. Institut für Sprachwissenschaft der Universität Innsbruck. pp. 12–39. ISBN 3-85124-613-6.
  • McCone, K. (1996). Towards a Relative Chronology of Ancient and Medieval Celtic Sound Change. Maynooth: Department of Old and Middle Irish, St. Patrick's College. ISBN 0-901519-40-5.
  • Russell, Paul (1995). An Introduction to the Celtic Languages. Longman. ISBN 0582100828.
  • Schmidt, K.H. (1988). "On the reconstruction of Proto-Celtic". ใน G. W. MacLennan (บ.ก.). Proceedings of the First North American Congress of Celtic Studies, Ottawa 1986. Ottawa: Chair of Celtic Studies. pp. 231–48. ISBN 0-09-693260-0.
  • Schrijver, Peter (1995). Studies in British Celtic historical phonology. Amsterdam: Rodopi. ISBN 90-5183-820-4.
  • Schumacher, Stefan; Schulze-Thulin, Britta; aan de Wiel, Caroline (2004). Die keltischen Primärverben. Ein vergleichendes, etymologisches und morphologisches Lexikon (ภาษาเยอรมัน). Innsbruck: Institut für Sprachen und Kulturen der Universität Innsbruck. ISBN 3-85124-692-6.

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]