พรรคเสรีประชาธิปไตย (สหราชอาณาจักร)
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
พรรคเสรีประชาธิปไตย Liberal Democrats | |
---|---|
หัวหน้าพรรค | เซอร์ เอ็ด ดาเวย์ |
รองหัวหน้าพรรค | เดซี่ คูเปอร์ |
ประธานพรรค | ซัล บรินตัน, บารอนเนส บรินตัน |
ผู้นำใน สภาขุนนาง | ริชาร์ด นิวบี้, บารอน นิวบี้ |
ก่อตั้ง | 3 มีนาคม 2531 |
รวมตัวกับ |
|
ที่ทำการ | 8–10 Great George Street London SW1P 3AE[1] |
อุดมการณ์ | เสรีนิยม[2]
สังคมนิยมเสรี[2][3] สนับสนุนสหภาพยุโรป[4][5] |
จุดยืน | กลาง[6][7][8][9][10] กลาง-ซ้าย[11][12] |
กลุ่มระดับสากล | สมาคมพรรคเสรีนิยมสากล [1] |
กลุ่มในภูมิภาค | พันธมิตรพรรคเสรีนิยมและประชาธิปไตยแห่งยุโรป [2] |
สี | สีเหลือง[13] |
สภาสามัญชน[a] | 14 / 650
|
สภาขุนนาง[14] | 83 / 768
|
สภากรุงลอนดอน | 2 / 25
|
รัฐสภาสกอตแลนด์ | 4 / 129
|
สมัชชาแห่งชาติเวลส์ | 1 / 60
|
เว็บไซต์ | |
www | |
การเมืองสหราชอาณาจักร รายชื่อพรรคการเมือง การเลือกตั้ง |
พรรคเสรีประชาธิปไตย (อังกฤษ: The Liberal Democrats) (ชื่อย่อ: Lib Dems) เป็นพรรคการเมืองแนว เสรีนิยม ใน สหราชอาณาจักร โดยมีที่นั่งสมาชิกในสภาสามัญชนอยู่ 11 คน มีสมาชิกในสภาขุนนางอยู่ 94 คน โดยเคยร่วมรัฐบาลผสมร่วมกับ พรรคอนุรักษนิยม ในปี 2553 ถึง 2558
โดยมีที่มาจากการยุบรวมพรรคระหว่าง พรรคเสรีนิยม ซึ่งมีบทบาททางการเมืองในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในนามพรรควิกส์ กับ พรรคสังคมนิยมประชาธิปไตย (SDP) ที่แยกตัวออกมาจาก พรรคแรงงาน โดยรวมตัวกันในปี 2531 โดยเป็นพรรคขนาดกลางค่อนใหญ่อันดับสามในการเมืองของสหราชอาณาจักร ก่อนที่ในปี 2553 จะมีบทบาทสำคัญในการเข้าร่วมรัฐบาลผสม โดยที่ นิค เคล็ก หัวหน้าพรรคในเวลานั้น ได้เจรจาเข้าร่วมเป็นรัฐบาลร่วมกัน กับ เดวิด แคเมอรอน โดยที่ภายหลัง เคล็ก ได้รับตำแหน่งเป็น รองนายกรัฐมนตรี ก่อนการเลือกตั้งในปี 2558 พรรคจะสูญเสียที่นั่งมากถึง 49 ที่นั่ง จาก 57 ที่นั่งในการเลือกตั้งเมื่อปี 2553
จุดยืนของพรรคนั้น จะค่อนไปทางสายกลาง ในการเมืองสหราชอาณาจักร แต่แนวทางและอุดมการณ์พรรคนั้น จะเน้นไปที่ เสรีนิยม และ ประชาธิปไตยสังคมนิยม
ฐานเสียงหลักของพรรคนั้นส่วนใหญ่จะเป็นชนชั้นกลาง และ มีการศึกษาดี ด้านพื้นที่ฐานเสียงหลัก จะอยู่ทางสกอตแลนด์ตอนเหนือ, ตะวันตกเฉียงใต้ของลอนดอนและอังกฤษ รวมไปถึง ตอนกลางของเวลส์ และมีพันธมิตรร่วมในไอร์แลนด์เหนือ คือ พรรคแนวร่วมแห่งไอร์แลนด์เหนือ ขณะเดียวกันก็ได้เข้าร่วมในองค์การภาคีการเมืองระหว่างประเทศ อย่าง ลีเบอร์รัล อินเตอร์เนชั่นเนล (ซึ่งมี พรรคประชาธิปัตย์ ของไทย เข้าร่วมเป็นสมาชิก) รวมไปถึง ภาคีพันธมิตรแห่งเสรีนิยมและประชาธิปไตยแห่งยุโรป ในรัฐสภายุโรปอีกด้วย
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ พรรคไม่ได้ส่งผู้สมัครใน ไอร์แลนด์เหนือ อย่างไรก็ดี พรรคแนวร่วมแห่งไอร์แลนด์เหนือ ซึ่งเป็นพรรคพันธมิตร จะส่งผู้สมัครแทนในนาม
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Registration summary". Electoral Commission. สืบค้นเมื่อ 5 October 2019.
- ↑ 2.0 2.1 Nordsieck, Wolfram (2017). "United Kingdom". Parties and Elections in Europe. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-11. สืบค้นเมื่อ 3 May 2018.
- ↑ Hans Slomp (2011). Europe, A Political Profile: An American Companion to European Politics [2 volumes]: An American Companion to European Politics. ABC-CLIO. p. 343. ISBN 978-0-313-39182-8.
- ↑ "Brexit". Liberal Democrats. 17 April 2018.
- ↑ Elgot, Jessica (28 May 2017). "Tim Farron: Lib Dems' pro-European strategy will be proved right". The Guardian.
- ↑ Mark Kesselman; Joel Krieger; William A. Joseph (2018). Introduction to Comparative Politics: Political Challenges and Changing Agendas. Cengage Learning. p. 71. ISBN 978-1-337-67124-8.
- ↑ "Britain's anti-Brexit Liberal Democrats name Jo Swinson as new leader". Reuters. 22 July 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-27. สืบค้นเมื่อ 27 July 2019.
- ↑ "Centrism Panel". The Oxford Union. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-19. สืบค้นเมื่อ 15 September 2019.
- ↑ Warry, Richard (15 May 2017). "Guide to the parties: Liberal Democrats". BBC News. สืบค้นเมื่อ 15 September 2019.
- ↑ "Lib Dems aim for centrist voters with tax platform". Financial Times. สืบค้นเมื่อ 18 February 2017.
- ↑ Daddow, Oliver; Jones, Bill; Norton, Philip (2018). "Chapter 5 – Political ideas: the major parties". Politics UK (9th ed.). Routledge. ISBN 9781134856893.
- ↑ Alistair Clark (2012). Political Parties in the UK. Palgrave Macmillan. pp. 86–93. ISBN 978-0-230-36868-2.
- ↑ "Style guide". Liberal Democrats. 23 March 2017. สืบค้นเมื่อ 5 February 2018.
- ↑ "Lords by party and type of peerage". UK Parliament. August 2014.
แหล่งข้อมูล
[แก้]- Cook, Chris (2010). A Short History of the Liberal Party: The Road Back to Power (seventh ed.). Houndmills and New York: Palgrave Macmillan. ISBN 978-0-230-21044-8.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Grayson, Richard S. (2007). "Introduction: Analysing the Liberal Democrats". The Political Quarterly. Vol. 78 no. 1. pp. 5–10.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Meadowcroft, John (2000). "Is There a Liberal Alternative? Charles Kennedy and the Liberal Democrats' Strategy". The Political Quarterly. Vol. 71 no. 4. pp. 436–442. doi:10.1111/1467-923X.00331.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Meadowcroft, John (2008). "Are the Liberal Democrats the Party of Liberty?". Economic Affairs. Vol. 28 no. 2. p. 93.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Roberts, Graham (1997). "The Liberal Democrats". Historical Journal of Film, Radio and Television. Vol. 16 no. 4. pp. 463–467.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Taylor, Matthew (2007). "The Birth and Rebirth of the Liberal Democrats". The Political Quarterly. Vol. 78 no. 1. pp. 21–31.
{{cite news}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Whiteley, Paul; Seyd, Patrick; Billinghurst, Antony (2006). Third Force Politics: Liberal Democrats at the Grassroots. Oxford: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-924282-5.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help)