ข้ามไปเนื้อหา

อำเภอเมืองเชียงใหม่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อำเภอเมืองเชียงใหม่
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Mueang Chiang Mai
ทิวทัศน์บริเวณถนนห้วยแก้ว พ.ศ. 2565
ทิวทัศน์บริเวณถนนห้วยแก้ว พ.ศ. 2565
คำขวัญ: 
ดอยสุเทพศูนย์รวมใจ อนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัยรวมศรัทธา ภูพิงค์สูงเสียดฟ้า ศูนย์ล้านนาในอดีต ประเพณีจารีตน่าชื่นชม งามสวยสมน้ำแม่ปิง
แผนที่จังหวัดเชียงใหม่ เน้นอำเภอเมืองเชียงใหม่
แผนที่จังหวัดเชียงใหม่ เน้นอำเภอเมืองเชียงใหม่
พิกัด: 18°47′25″N 98°59′4″E / 18.79028°N 98.98444°E / 18.79028; 98.98444
ประเทศ ไทย
จังหวัดเชียงใหม่
พื้นที่
 • ทั้งหมด152.4 ตร.กม. (58.8 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)
 • ทั้งหมด223,363 คน
 • ความหนาแน่น1,465.64 คน/ตร.กม. (3,796.0 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 50000,
50100 (เฉพาะตำบลหายยา ตำบลช้างคลาน ตำบลแม่เหียะ และตำบลป่าแดด),
50200 (เฉพาะตำบลศรีภูมิ ตำบลพระสิงห์ และตำบลสุเทพ),
50300 (เฉพาะตำบลช้างม่อย ตำบลช้างเผือก ตำบลป่าตัน และตำบลสันผีเสื้อ)
รหัสภูมิศาสตร์5001
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอเมืองเชียงใหม่ ศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ ถนนโชตนา ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

อำเภอเมืองเชียงใหม่ (ไทยถิ่นเหนือ: เมืองเจียงใหม่) เป็นศูนย์กลางการคมนาคม การปกครอง การศึกษา การแพทย์ การท่องเที่ยว และวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ นับเป็นอำเภอที่มีความเจริญมากที่สุดของจังหวัดและของภาคเหนือ อำเภอเมืองเชียงใหม่มีเขตนครเชียงใหม่และปริมณฑลล้อมรอบ ครอบคลุมพื้นที่ 6 อำเภอ ได้แก่ อำเภอหางดง อำเภอสันกำแพง อำเภอสารภี อำเภอแม่ริม อำเภอสันทราย และอำเภอดอยสะเก็ด [1]

ที่ตั้งและอาณาเขต

[แก้]

อำเภอเมืองเชียงใหม่ตั้งอยู่ทางตอนกลางของจังหวัดเชียงใหม่ มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอและจังหวัดใกล้เคียงดังนี้

การแบ่งเขตการปกครอง

[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค

[แก้]

อำเภอเมืองเชียงใหม่แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 16 ตำบล 78 หมู่บ้าน ได้แก่

ที่ อักษรไทย ตัวเมือง อักษรโรมัน จำนวนหมู่บ้าน ประชากรทั้งหมด
(พ.ศ. 2566)[2]
ประชากรแยกตามส่วนท้องถิ่น
(พ.ศ. 2566)[2]
1. ศรีภูมิ Si Phum 11,630 11,630 (ทน. เชียงใหม่)
2. พระสิงห์ Phra Sing 6,003 6,003 (ทน. เชียงใหม่)
3. หายยา Haiya 11,487 11,487 (ทน. เชียงใหม่)
4. ช้างม่อย Chang Moi 6,953 6,953 (ทน. เชียงใหม่)
5. ช้างคลาน Chang Khlan 12,553 12,553 (ทน. เชียงใหม่)
6. วัดเกต Wat Ket 17,868 17,868 (ทน. เชียงใหม่)
7. ช้างเผือก Chang Phueak 5 24,118 13,267
8,771
2,080
(ทน. เชียงใหม่)
(ทต. ช้างเผือก)
(อบต. ช้างเผือก)
8. สุเทพ Suthep 15 26,999 10,021
16,978
(ทน. เชียงใหม่)
(ทต. สุเทพ)
9. แม่เหียะ Mae Hia 10 19,966 19,966 (ทม. แม่เหียะ)
10. ป่าแดด Pa Daet 13 19,510 1,542
17,968
(ทน. เชียงใหม่)
(ทต. ป่าแดด)
11. หนองหอย Nong Hoi 7 13,786 5,884
7,902
(ทน. เชียงใหม่)
(ทต. หนองหอย)
12. ท่าศาลา Tha Sala 5 12,739 5,498
7,241
(ทน. เชียงใหม่)
(ทต. ท่าศาลา)
13. หนองป่าครั่ง Nong Pa Khrang 7 8,915 1,592
7,323
(ทน. เชียงใหม่)
(ทต. หนองป่าครั่ง)
14. ฟ้าฮ่าม Fa Ham 7 8,027 911
7,116
(ทน. เชียงใหม่)
(ทต. ฟ้าฮ่าม)
15. ป่าตัน Pa Tan 10,090 10,090 (ทน. เชียงใหม่)
16. สันผีเสื้อ San Phisuea 9 12,719 12,719 (ทต. สันผีเสื้อ)
รวม 78 223,363 115,299 (เทศบาลนครเชียงใหม่)
105,984 (เทศบาลอื่น ๆ)
2,080 (อบต.)

การปกครองส่วนท้องถิ่น

[แก้]
ประชากรอำเภอเมืองเชียงใหม่แบ่งตามปี
ปีประชากร±%
2545 247,672—    
2548 242,974−1.9%
2551 238,332−1.9%
2554 235,600−1.1%
2557 234,244−0.6%
2560 234,649+0.2%
2561 234,870+0.1%
2562 233,632−0.5%
2563 229,063−2.0%
2564 226,855−1.0%
อ้างอิง: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย[2]

ท้องที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 11 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลนครเชียงใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลศรีภูมิ พระสิงห์ หายยา ช้างม่อย ช้างคลาน วัดเกต และป่าตันทั้งตำบล และยังครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลช้างเผือก สุเทพ ป่าแดด หนองหอย ท่าศาลา หนองป่าครั่ง และฟ้าฮ่าม
  • เทศบาลเมืองแม่เหียะ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแม่เหียะทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลช้างเผือก ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลช้างเผือก (นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่และองค์การบริหารส่วนตำบลช้างเผือก)
  • เทศบาลตำบลหนองป่าครั่ง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองป่าครั่ง (นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่)
  • เทศบาลตำบลท่าศาลา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าศาลา (นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่)
  • เทศบาลตำบลสุเทพ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสุเทพ (นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่)
  • เทศบาลตำบลป่าแดด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลป่าแดด (นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่)
  • เทศบาลตำบลหนองหอย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองหอย (นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่)
  • เทศบาลตำบลฟ้าฮ่าม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลฟ้าฮ่าม (นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่)
  • เทศบาลตำบลสันผีเสื้อ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสันผีเสื้อทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลช้างเผือก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลช้างเผือก (นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่และเทศบาลตำบลช้างเผือก)

การคมนาคม

[แก้]

อำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางคมนาคมของจังหวัดเชียงใหม่และภาคเหนือของประเทศไทย เป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่ สถานีขนส่งผู้โดยสารเชียงใหม่ และสถานีรถไฟเชียงใหม่

ถนนสายหลักที่มีจุดเริ่มต้น ณ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

  • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 (ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่ - ลำปาง) ช่วงแยกรินคำ - แยกดอนจั่น เป็นส่วนหนึ่งของถนนวงแหวนรอบที่ 1 เมืองเชียงใหม่ ขนาด 8 - 10 ช่องจราจร / ช่วงแยกดอนจั่น - ลำพูน มีขนาด 6 ช่องจราจร
  • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 107 (เชียงใหม่ - แม่จัน) เริ่มต้นจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ มุ่งหน้าทางทิศเหนือสิ้นสุดที่อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ช่วงแยกข่วงสิงห์ - อำเภอแม่แตง มีขนาด 4 ช่องจราจร
  • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 (เชียงใหม่ - แม่ฮ่องสอน) เริ่มต้นจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ มุ่งหน้าทางทิศใต้ สิ้นสุดที่อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ช่วงแยกสนามบิน - อำเภอหางดง มีขนาด 6 ช่องจราจร
  • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 118 (เชียงใหม่ - เชียงราย ) เริ่มต้นจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ มุ่งหน้าทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่จังหวัดเชียงราย ช่วงแยกศาลเด็ก - แยกแม่กวง มีขนาด 8 ช่องจราจร
  • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 121 (ถนนวงแหวนรอบที่ 3 เมืองเชียงใหม่) เป็นถนนรอบเมืองเชียงใหม่ขนาด 4 - 6 ช่องจราจร
  • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1001 (เชียงใหม่ - พร้าว) เริ่มต้นจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ มุ่งหน้าทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ช่วงแยกแม่โจ้ - มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีขนาด 4 - 8 ช่องจราจร
  • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1006 (เชียงใหม่ - สันกำแพง สายเก่า) เริ่มต้นจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ มุ่งหน้าทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่
  • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1317 (เชียงใหม่ - สันกำแพง สายใหม่) เริ่มต้นจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ มุ่งหน้าทางทิศตะวันออก สิ้นสุดที่อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ ช่วงแยกดอนจั่น - อำเภอสันกำแพง มีขนาด 4 ช่องจราจร
  • ถนนเชียงใหม่ - ลำพูนสายเก่า (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 106 เดิม) เริ่มต้นจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ มุ่งหน้าทางทิศใต้ สิ้นสุดที่อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน มีขนาด 2 ช่องจราจร
  • ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1141 (ดอนจั่น - เชียงใหม่) เป็นส่วนหนึ่งของถนนวงแหวนรอบที่ 1 เมืองเชียงใหม่ ขนาด 6 ช่องจราจร
  • ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี (ถนนวงแหวนรอบที่ 2 เมืองเชียงใหม่) หรือทางหลวงชนบท ชม.3029 เป็นถนนรอบเมืองเชียงใหม่ ขนาด 6 ช่องจราจร

ทางราง

[แก้]

สถานที่สำคัญ

[แก้]
ทัศนียภาพอำเภอเมืองเชียงใหม่จากดอยสุเทพ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2565
ตลาดวโรรส (กาดหลวง)

ตลาด

[แก้]
  • กาดหลวง (ตลาดใหญ่)
    • ตลาดวโรรส
    • ตลาดต้นลำไย
    • ตลาดเมืองใหม่
  • (ตลาดเล็ก)
    • ตลาดต้นพยอม (ตลาดสุเทพ)
    • ตลาดหนองหอย
    • ตลาดสันป่าข่อย
    • ตลาดบริบูรณ์
    • ตลาดประตูก้อม (กาดก้อม)
    • ตลาดคำเที่ยง
    • ตลาดประตูเชียงใหม่
    • ตลาดศิริวัฒนา (กาดธานินทร์)
    • ตลาดสมเพชร

กำแพงเมือง

[แก้]

สถานกงสุล

[แก้]

อำเภอเมืองเชียงใหม่มีสถานกงสุลประจำจังหวัดเชียงใหม่ทั้งหมด 16 แห่ง ได้แก่

สะพาน

[แก้]
ภาพพาโนรามาของตัวเมืองเชียงใหม่ เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2553

สถานศึกษา

[แก้]

โรงเรียน

[แก้]

วิทยาลัย / มหาวิทยาลัย

[แก้]

สถานที่ท่องเที่ยว

[แก้]
  • กลุ่มดนตรีซล้อซอซึง
  • ขุนช้างเคี่ยน
  • คุ้มขันโตก
  • คุ้มเจ้าบุรีรัตน์ (มหาอินทร์)
  • เจเจ มาร์เก็ต เชียงใหม่
  • ชุมชนวัดเกต
  • เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี
  • ดอยขุนแม่ยะ
  • ดอยปุย
  • ถนนคนเดิน
  • ถนนนิมมานเหมินทร์
  • ท่าเทียบเรือโดยสาร
  • น้ำตกตาดหมาไห้
  • น้ำตกมณฑาธาร หรือ น้ำตกสันป่ายาง
  • น้ำตกห้วยแก้ว
  • ไนท์บาซาร์
  • บ้านดอยปุย
  • บ้านม้ง (แม้ว)-ดอยปุย
  • พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์
  • พิพิธภัณฑ์เครื่องถ้วยจอห์น แอนแพทซอว์
  • พิพิธภัณฑ์โครงการศึกษาเครื่องปั้นดินเผา ภาควิชาประวัติศาสตร์
  • พิพิธภัณฑ์ชาวเขา
  • พิพิธภัณฑ์ตราไปรษณียากร เชียงใหม่
  • พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่
  • พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ
  • พิพิธภัณฑ์ธรณีวิทยา ภาควิชาธรณีวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พิพิธภัณฑ์บ้านคำอูน
  • พิพิธภัณฑ์บ้านบานเย็น
  • พิพิธภัณฑ์บ้านแฮรีส โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
  • พิพิธภัณฑ์ประวัติคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านล้านนา เรือนซ้อ-หงส์
  • พิพิธภัณฑ์ผ้าโบราณสบันงา
  • พิพิธภัณฑ์แมลงและมรดกธรรมชาติ
  • พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณ
  • พิพิธภัณฑ์วัดเกตการาม
  • พิพิธภัณฑ์วัดบุพพาราม (หอมนเฑียรธรรม)
  • พิพิธภัณฑ์วัดพระธาตุดอยสุเทพวรมหาวิหาร
  • พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงใหม่
  • พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ สวนสัตว์เชียงใหม่
  • พิพิธภัณฑ์หมู่บ้านชาวเขาดอยปุย
  • พิพิธภัณฑ์การศึกษาโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ
  • ร้านม่อนฝ้าย
  • เรือนข้าเจ้า
  • เรือนอนุสารสุนทร
  • โรงงานไทยศิลาดล
  • โรงงานนมห้วยแก้ว
  • โรงพยาบาลบรรเทาทุกข์โบราณภาคเหนือ
  • วัดกู่เต้า
  • วัดขะจาว
  • วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร
  • วัดเจดีย์เหลี่ยมหรือวัดเจดีย์กู
  • วัดเจ็ดยอด
  • วัดช่างฆ้อง
  • วัดเชียงมั่น
  • วัดต้นปิน
  • วัดตำหนัก
  • วัดท่ากระดาษ
  • วัดท่าข้าม
  • วัดบวกครกหลวง
  • วัดบุพพาราม
  • วัดปราสาท
  • วัดป่าแดงมหาวิหาร
  • วัดป่าเป้า
  • วัดพระธาตุดอยคำ
  • วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร
  • วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร
  • วัดพวกหงส์
  • วัดพันเตา
  • วัดโพธารามมหาวิหาร
  • วัดร่ำเปิ่ง (ตโปธาราม)
  • วัดลังกา
  • วัดศรีบุญเรือง
  • วัดศรีสุพรรณ
  • วัดศรีโสดา
  • วัดสวนดอกหรือวัดบุปผาราม
  • วัดสวนพริก
  • วัดสันทรายต้นกอก
  • วัดแสนฝาง
  • วัดอุโบสถ
  • วัดอุปคุต
  • วัดอุโมงค์มหาเถรจันทร์
  • วัดอู่ทรายคำ
  • เวียงกุมกาม
  • ศูนย์ธรรมชาติวิทยาดอยสุเทพเฉลิมพระเกียรติฯ
  • ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนป่าแดด (วัดวังสิงห์คำ)
  • ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยพายัพ
  • ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • ศูนย์ศิลปะการแสดงกาดสวนแก้ว
  • ศาลาธนารักษ์ ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญกษาปณ์ไทย
  • สถาบันล้านนาศึกษา
  • สวนเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549
  • สวนรุกขชาติห้วยแก้ว
  • สวนสัตว์เชียงใหม่
  • เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี
  • เสาอินทขิลหรือเสาหลักเมือง
  • หมู่บ้านทำเครื่องเงิน
  • หอธรรมโฆษณ์ วัดอุโมงค์
  • หอประวัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (หอศิลป์ปิ่นมาลา)
  • หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่
  • ห้องพิพิธภัณฑ์ โรงเรียนหอพระ
  • อนุสาวรีย์ครูบาศรีวิชัย
  • อนุสาวรีย์เจ้ากาวิละ
  • อาสนวิหารพระหฤทัย
  • เฮือนแก้ว โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย

อ้างอิง

[แก้]
  1. https://download.asa.or.th/03media/04law/cpa/mr56-cm.pdf กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๕ หน้า 32 (ราชกิจจานุเบกษา)
  2. 2.0 2.1 2.2 กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "สถิติประชากรทางการทะเบียนราษฎร (รายเดือน) พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เดือนธันวาคม 2566." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [1]. สืบค้น 13 มีนาคม 2567.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]