2 กันยายน
หน้าตา
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น
เหตุการณ์
[แก้]ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล
[แก้]- พ.ศ. 500 (44 ปีก่อนคริสตกาล) –
- คลีโอพัตราที่ 7 แห่งอียิปต์ประกาศให้โอรสของพระองค์คือปโตเลมีที่ 15 ซีซาเรียนเป็นกษัตริย์ร่วม[1]
- กิแกโรเปิดฉากโจมตีมาร์ก แอนโทนีครั้งแรกด้วยคำกล่าวปราศรัยชุดฟิลิปปิเค (คำกล่าวปราศรัยโจมตีอย่างรุนแรง)[2]
- พ.ศ. 513 (31 ปีก่อนคริสตกาล) – สงครามครั้งสุดท้ายของสาธารณรัฐโรมัน: ยุทธนาวีที่อักติอูง: นอกชายฝั่งทางตะวันตกของกรีซ กองทัพของออกตาเวียนเอาชนะกองทัพของมาร์ก แอนโทนีและคลีโอพัตรา[3]
ศตวรรษที่ 12
[แก้]- พ.ศ. 1735 (ค.ศ. 1192) – สนธิสัญญาจัฟฟาเป็นการลงนามระหว่างพระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษกับเศาะลาฮุดดีน ซึ่งนำไปสู่จุดสิ้นสุดของสงครามครูเสดครั้งที่สาม[4]
- พ.ศ. 2413 (ค.ศ. 1870) - สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย: พระเจ้านโปเลียนที่ 3 แห่งฝรั่งเศส ถูกจับกุมในยุทธภูมิซีดาน
- พ.ศ. 2478 (ค.ศ. 1935) - พายุเฮอร์ริเคน ถล่มหมู่เกาะปริ่มน้ำฟลอริดา สหรัฐอเมริกา ทำให้มีผู้เสียชีวิต 423 คน
- พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) -
- ญี่ปุ่นลงนามในเอกสารยอมจำนนบนเรือรบมิสซูรีของสหรัฐฯ ที่ทอดสมอในอ่าวโตเกียว เป็นการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองอย่างเป็นทางการ
- โฮจิมินห์ ประกาศสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) ซึ่งต่อมาหลังจากการรวมประเทศใช้ชื่อว่าสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
- พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) - ตุรกีประกาศเนรเทศทูตอิสราเอลประจำกรุงอังการาและระงับความสัมพันธ์ทางการทหารทั้งหมดกับอิสราเอลเนื่องจากการปฏิเสธที่จะขอโทษต่อเหตุการณ์บุกโจมตีเรือช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ฉนวนกาซา ส่งผลให้มีชาวตุรกีเสียชีวิต 8 ราย
- พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) -
- พิธีปิด การแข่งขันกีฬา เอเชียนเกมส์ 2018 ณ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย
- เกิดเหตุเพลิงไหม้ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติบราซิล ที่นครริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล ส่งผลให้ของสะสมกว่าร้อยละ 90 ถูกเผาทำลาย
วันเกิด
[แก้]- พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913) - บิลล์ แชงคลี อดีตนักฟุตบอลชาวสก็อตแลนด์และอดีตผู้จัดการทีมลิเวอร์พูล (ถึงแก่กรรม 29 กันยายน พ.ศ. 2524)
- พ.ศ. 2464 (ค.ศ. 1921) -
- มนต์ชัย พันธุ์คงชื่น อดีตอธิบดีกรมตำรวจและอดีตผู้บัญชาการตำรวจนครบาล (ถึงแก่กรรม 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559)
- ศรีทอง อารีวงศ์ ครูและผู้มีเชี้อสายฝ่ายเหนือจากเจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์ และล่ามชาวไทยผู้รับถวายงานสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (ถึงแก่กรรม 24 เมษายน พ.ศ. 2567)[5]
- พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) - วิม อันเดอรีเซิน จูเนียร์ นักฟุตบอลชาวดัตช์ (ถึงแก่กรรม 27 มกราคม พ.ศ. 2560)
- พ.ศ. 2481 (ค.ศ. 1938) - จิมมี แคลนตัน นักร้องชาวอเมริกัน
- พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) - คริสตา แม็กคอลิฟฟ์ ครูและนักบินอวกาศชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2529)
- พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) - หมี เสว่ นักแสดงชาวจีน
- พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) -
- โกลด ปุแอล อดีตนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศส
- หวง ชิวเซิน นักแสดงชาวฮ่องกง
- พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง นักร้องและนักแสดงชาวไทย
- พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) -
- ปรัชญา ปิ่นแก้ว ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย
- เคียร์ สตาร์เมอร์ นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร
- พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963) - สตานิสลัฟ เชียร์เชซอฟ อดีตผู้รักษาประตูชาวรัสเซีย
- พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) - เคอานู รีฟส์ นักแสดงชาวแคนาดา
- พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) - เลนน็อก ลูอิส นักมวยสากลชาวอังกฤษ
- พ.ศ. 2509 (ค.ศ. 1966) - ซัลมา ฮาเยก นักแสดง ผู้กำกับ โปรดิวเซอร์ภาพยนตร์และโทรทัศน์ชาวเม็กซิโก
- พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) - อันเดรอัส เมิลเลอร์ อดีตนักฟุตบอลชาวเยอรมนี
- พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) - ซินเธีย วาทรอส นักแสดงชาวอเมริกัน
- พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) - ษรฉัตร สหัชธนชัย นักแสดง พิธีกรชาวไทย
- พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) - สุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
- พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) - ชฎาธิรัฏฐ์ เลิศทวีสิน นักแสดงและพิธีกรชาวไทย
- พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) - โจอี บาร์ตัน นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) - สักกทัศน์ กุลไพศาล นักร้องชาวไทย
- พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) - อารักษ์ อมรศุภศิริ นักแสดง นายแบบ และนักดนตรีชาวไทย
- พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985) -
- ทัชชกร บุญลัภยานันท์ นักแสดงและพิธีกรชาวไทย
- อาดัม เญเม็ตส์ นักฟุตบอลอาชีพชาวสโลวาเกีย
- พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) -
- ชุมพล บัวงาม นักฟุตบอลมืออาชีพชาวไทย
- แฌลซัน ฟือร์นังดึช นักฟุตบอลชาวสวิส
- พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) - ฆาบิ มาร์ติเนซ นักฟุตบอลชาวสเปน
- พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) - อาเลชังดรี ปาตู นักฟุตบอลชาวบราซิล
- พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) -
- พิมพ์จิรา เจริญลักษณ์ นักแสดง นางแบบ ชาวไทย
- สนธยา แก้วบัณฑิต อดีตนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย
- พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) - เอมิเลียโน มาร์ติเนซ นักฟุตบอลชาวอาร์เจนตินา
- พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) - สันติสุข อินทวงศ์ นักว่ายน้ำชาวลาว
- พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) - รัน ทากาฮาชิ นักกีฬาวอลเลย์บอลชายชาวญี่ปุ่น
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) - โฮจิมินห์ ประธานาธิบดีของเวียดนามเหนือ (เกิด พ.ศ. 2433)
- พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) - เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน กวี นักประพันธ์ นักภาษาศาสตร์ และศาสตราจารย์ชาวอังกฤษ (เกิด พ.ศ. 2435)
วันสำคัญและวันหยุดเทศกาล
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ King, Arienne (10 July 2018). "Caesarion". World History Encyclopedia. สืบค้นเมื่อ 2021-03-21.
- ↑ Marcus Tullius Cicero; Quintus Tullius Cicéron; Cicero (2000). On Obligations. Oxford University Press. p. 9. ISBN 978-0-19-924018-0.
- ↑ Faith and Thought. Victoria Institute. 1934. p. 182.
- ↑ George Archibald Campbell (1938). The Crusades. R. M. McBride. p. 327.
- ↑ "ประวัติไม่ธรรมดา คุณยายทวดวัย 101 ปี ผู้เคยถวายงานเป็นล่ามควีนเอลิซาเบธที่ 2". www.sanook.com/news. 2022-09-15.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- BBC: On This Day
- Today in History: September 2 เก็บถาวร 2005-03-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน