คาบสมุทรมลายู
หน้าตา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ภาพถ่ายคาบสมุทรมลายูถ่ายโดยลูกเรือของภารกิจเอ็กซ์พีดิชัน 28 บนสถานีอวกาศนานาชาติ | |
ที่ตั้งของคาบสมุทรมลายู | |
ภูมิศาสตร์ | |
ที่ตั้ง | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
พิกัด | 7°00′N 100°00′E / 7.000°N 100.000°E |
แหล่งน้ำใกล้เคียง | มหาสมุทรอินเดีย, มหาสมุทรแปซิฟิก |
พื้นที่ | 242,363.8 ตารางกิโลเมตร (93,577.2 ตารางไมล์) |
ระดับสูงสุด | 2,187 ม. (7175 ฟุต) |
จุดสูงสุด | ภูเขาทาฮัน |
การปกครอง | |
มาเลเซียตะวันตก | |
เมืองใหญ่สุด | กัวลาลัมเปอร์ |
ภูมิภาค | ตะนาวศรี |
อำเภอ | เกาะสอง |
เมืองใหญ่สุด | เกาะสอง |
ภาคใต้ | |
เมืองใหญ่สุด | หาดใหญ่ |
คาบสมุทรมลายู หรือ แหลมมลายู หรือ คาบสมุทรเซการามาซิน (มลายู: Semenanjung Tanah Melayu; อังกฤษ: Malay Peninsula) เป็นคาบสมุทรขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วางตัวเกือบอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ และเป็นจุดที่อยู่ใต้สุดของทวีปเอเชีย ส่วนที่แคบที่สุดของคาบสมุทรมลายู คือ คอคอดกระ ชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้แยกออกจากเกาะสุมาตราด้วยช่องแคบมะละกา มีเกาะบอร์เนียวอยู่ทางตะวันออกในทะเลจีนใต้
ที่ตั้งและอาณาเขต
[แก้]ทางด้านการเมืองการปกครอง คาบสมุทรมลายูแบ่งออกเป็น:
- ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ คือ ส่วนใต้สุดของประเทศพม่า
- ตอนกลางและตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ภาคใต้ของประเทศไทย
- ตอนใต้ทั้งหมด คือ ส่วนของประเทศมาเลเซีย เรียกว่า มาเลเซียตะวันตก (ซึ่งเป็นเพียงส่วนหนึ่งของคาบสมุทรมลายู)
- เกาะที่อยู่ใต้สุด คือ ประเทศสิงคโปร์
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ คาบสมุทรมลายู
- . . 1914.